ออกจากงานยื่นภาษียังไงให้ถูกต้อง

ออกจากงานยื่นภาษียังไงให้ถูกต้อง

  1. ลาออกโดยสมัครใจ
ประเภทเงินได้ที่ต้องได้รับ อายุงานไม่เกิน 5 ปี อายุงานเกิน 5 ปี
เงินเดือนที่ได้รับระหว่างปี ยื่นในแบบแสดงรายการถือเป็นเงินได้40(1) ยื่นในแบบแสดงรายการถือเป็นเงินได้40(1)
เงินชดเชยที่ได้รับตามอายุงาน คำนวณในแบบแสดงรายการรวมเงินเดือน40(1) คำนวณในใบแนบเหตุลาออกจากงาน
เงินได้ที่ได้รับจาดกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอายุไม่ถึง 55 ปี คำนวณในแบบแสดงรายการรวมเงินเดือน40(1) คำนวณในใบแนบเหตุลาออกจากงาน
เงินได้ที่ได้รับจาดกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอายุเกิน 55 ปี คำนวณในแบบแสดงรายการรวมกับเงินเดือน 40(1) ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวนหากมีอายุในกองทุนเกิน  5 ปี

 

  1. ถูกบังคับให้ออกหรือให้ออกโดยลูฏจ้างไม่สมัครใจ
ประเภทเงินที่ได่รับ อายุงานไม่ถึง 5 ปี อายุงานเกิน 5 ปี
เงินเดือนที่ได้รับระหว่างปี ยื่นในแบบแสดงรายการถือเป็นเงินได้ 40(1) ยื่นในแบบแสดงรายการถือเป็นเงินได้ 40(1)
เงินชดเชยที่ได้รับตามอายุงานตามกฎหมายแรงงาน คำนวณในแบบแดสงรายการรวมกับเงินเดือน40(1) คำนวณในใบแนบเหตุลาออกจากงาน
เงินชดเชยที่ไดรับตามพรบ.คุ้มครองแรงงาน ได้รับยกเว้น 300 วันสุดท้าย แต่ไม่เกิน300,000 บาท ได้รับยกเว้น 300 วันสุดท้าย แต่ไม่เกิน300,000 บาท
เงินได้ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอายุไม่ถึง 55 ปี คำนวณในแบบแสดงรายการรวมกับเงินเดือน 40(1) คำนวณในใบแนบเหตุลาออกจากงาน
เงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอายุตั้งแต่ 55 ปีเป็นต้นไป คำนวณในแบบแสดงรายการรวมกับเงินเดือน 40(1) ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณหากมีอายุในกองทุนเกินกว่า 5 ปี

 

เอกสารที่ใช้ประกอบในการยื่นแบบกรณีออกจากงาน

  • หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย 50 ทวิ
  • เอกสารรับรองอายุการทำงาน
  • เอกสารรับรองเงินเดือน ย้อนหลัง 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน

ลาออกหรือถอนเงินจากกองทุนฯ (ไม่ได้ลาออกจากงาน)

นำเงินได้เฉพาะส่วนผลประโยชน์ของตนเอง ส่วนของนายจ้างและผลประโยชน์ของนายจ้างยื่นรวมกับเงินเดือนที่ได้รับ ยื่นในแบบแสดงรายการ ตามมาตรา 40(1) เงินเดือนค่าจ้างแรงงานและไม่มีสิทธิคำนวณเงินได้ในใบแนบเงินได้เหตุออกจากงานฯ

อ้างอิง : https://www.thebangkokinsight.com/576606/

Start typing and press Enter to search

Shopping Cart